หม้อแปลงไฟฟ้าระบบจำหน่าย (Distribution Transformer)



นิยาม (Definition) : 
“ทำหน้าที่จ่ายกำลังไฟฟ้าให้กับลูกค้า โดยทำการแปลงระดับแรงดันระบบจำหน่ายเป็นระดับแรงดันใช้งาน”




– การไฟฟ้านครหลวง (Metropolitan Electricity Authority - MEA)
• แรงดันระบบจ าหน่าย 24 หรือ 12/24 kV และแรงดันใช้งาน 416/240 V, 3 PH
• แรงดันระบบจ าหน่าย 24 หรือ 12/24 kV และแรงดันใช้งาน 480/240 V, 1 PH
• Tapping range : - 4 x 2.5% (Off-Load Tap-Changer on HV Side)
• Vector Group : Dyn1 or Dyn11 (3 PH), Subtractive (1 PH)




– การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (Provincial Electricity Authority - PEA)
• แรงดันระบบจ าหน่าย 22 หรือ 33 kV และแรงดันใช้งาน 400/230 V, 3 PH
• แรงดันระบบจ าหน่าย 22 หรือ 19 kV และแรงดันใช้งาน 460/230 V, 1PH
• Tapping range : + 2 x 2.5% (Off-Load Tap-Changer on HV Side)
• Vector Group : Dyn11 (3 PH), Subtractive (1 PH) 

มาตรฐาน (Standards) :
• มอก.384-2543 / TIS 384-2000
     – หม้อแปลงไฟฟ้าก าลัง / Power Transformers

• IEC 60076 Power Transformers
     – IEC 60076-1, 2011 Part 1: General
     – IEC 60076-2, 2011 Part 2: Temperature rise
     – IEC 60076-3, 2000 Part 3: Insulation level and dielectric tests
     – IEC 60076-4, 2002 Part 4: Lightning and switching impulse
     – IEC 60076-5, 2006 Part 5: Withstand short circuit
     – IEC 60076-11, 2004 Part 11: Dry-type transformers

• IEEE C57.12.00-2000
     – General requirements for Liquid-Immersed Distribution, Power and Regulating Transformers



ชนิดของหม้อแปลงไฟฟ้าแยกตามฉนวน (โครงสร้างของฉนวนหม้อแปลง) 

1. หม้อแปลงไฟฟ้า ชนิดแห้ง      วสท. 2556 - อุณหภูมิสูงสุดที่ฉนวนทนได้ > 150  ํC
     
• IEC 60076-11 - Class F = 155  ํC


2. หม้อแปลงไฟฟ้า ชนิดฉนวนเหลว
      2.1 ฉนวนของเหลวติดไฟได้
             • IEC 60076-2 - จุดติดไฟ < 300  ํC
             • IEC 60296 or ASTM D 3487
      
     2.2 ฉนวนของเหลวติดไฟยาก
            • IEC 60076-2 : จุดติดไฟ > 300  ํC
            • วสท. 2556 : จุดติดไฟ > 300ํ  ํC
            • IEC 60836 or ASTM D 4652 : Silicone Oil
            • ASTM D 6871 : FR3





ชนิดของหม้อแปลงไฟฟ้าแยกตามฉนวน





1. Cast Resin Transformers




เหมาะในการติดตั้งภายในอาคาร

– ตรงตามมาตรฐาน วสท. 2556 บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ
– โรงมหรสพ, สถานบริการ และโรงแรม (เพิ่มเติม)
– มีขนาดไม่น้อยกว่าโหลดที่คานวณได้ (แก้ไขใหม่)
– เป็นหม้อแปลงชนิดแห้ง
– ฉนวน Resin ไม่ติดไฟ
– ฉนวน Resin ไม่เป็นพิษต่อคน และสิ่งแวดล้อม
– อยู่ใน Enclosure IP >21



2. Open Type with Conservator



เหมาะในการติดตั้งภายนอกอาคาร
     – ตรงตามมาตรฐาน วสท. 2556 บทที่ 6 ข้อ 6.4 หม้อแปลง ห้องหม้อแปลง และลานหม้อแปลง
     – เป็นหม้อแปลงชนิดฉนวนเหลว
     – ราคาถูก และบารุงรักษาง่าย
     – ความชื้นจากภายนอก มีโอกาศเข้าสู่ภายในหม้อแปลงได้

3. Hermetically Sealed


เหมาะในการติดตั้งภายนอกอาคาร
     – ตรงตามมาตรฐาน วสท. 2556 บทที่ 6 ข้อ 6.4 หม้อแปลง ห้องหม้อแปลง และลานหม้อแปลง
     – เป็นหม้อแปลงชนิดฉนวนเหลว
     – ราคาถูก และบารุงรักษาน้อยลง
     – ความชื้นจากภายนอก ไม่มีโอกาศเข้าสู่ภายในหม้อแปลงได้




ตารางเปรียบเทียบ




สิ่งที่ควรรู้ก่อนเลือกซื้อหม้อแปลงไฟฟ้า
1. อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น (Temperature rise)
     – สำหรับหม้อแปลงชนิดแห้ง
          • IEC 60076-11 : ฉนวน Class F = 155  ํC
          • อุณหภูมิห้อง ต้องไม่เกิน 40  ํC
          • อุณหภูมิขดลวดที่เพิ่มขึ้น ต้องไม่เกิน 100  ํC 

     –สาหรับหม้อแปลงชนิดฉนวนเหลว
          • IEC 60076-2 : ฉนวน Class A = 105  ํC
          • อุณหภูมิห้อง ต้องไม่เกิน 40 ํC
          • อุณหภูมิขดลวดที่เพิ่มขึ้น ต้องไม่เกิน 65 ํC
          • อุณหภูมิน้ามันด้านบน (Top Oil) ต้องไม่เกิน 60  ํC


2. สัญลักษณ์แสดงการระบายความร้อนของหม้อแปลง


3. ความคงทนของขดลวดต่อแรงดันไฟฟ้า IEC 60076-3


4. ค่าความสูญเสียของหม้อแปลง (Losses)
     – ค่าความสูญเสียในแกนเหล็ก (No Load Loss)
     – ค่าความสูญเสียในขดลวด (Load Losses)

5. วัตถุดิบ (Material) ของขดลวด
     – ทองแดง (Copper)
     – อลูมิเนียม (Aluminum)

อ่านเพิ่มเติม >>



1399777203